ไม่พบผลลัพธ์
ไม่พบหน้าที่คุณค้นหา ลองปรับการค้นหาหรือใช้แผงควบคุมด้านบนเพื่อค้นหาโพสต์
PTP on the moves… Kuu Ne คูเน่ หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ 72 ปี ม.เกษตร
คูเน่ หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ 72 ปี ผลงานวิจัย ม.เกษตร ได้รับรางวัลชนะเลิศ Kuu Ne Onion Seasoning Powder Low Sodium #KuuNe #คูเน่ #ผงปรุงครบรสเพื่อสุขภาพ #โซเดียมต่ำ #ใช้แทนผงชูรสและน้ำสต๊อก(ซุป) #2in1 #ปรุงอาหารก็ได้ หรือ #ชงดื่มก็ดีต่อสุขภาพ #ผลิตจากหอมหัวใหญ่ ช่วยป้องก้นความเสี่ยงต่อ #โรคอ้วน #ความดัน #เบาหวาน #หัวใจ #ต้านสารก่อมะเร็ง #ลดการอักเสบของเซล #ช่วยชะลอความชรา Kuu Ne คูเน่ … #โภชนาการคุณค่า #เพื่อชีวิตที่ยืนยาวKuu Ne คูเน่ …#Wealth #Nutrition for #Lively #Healthwww.ptpfoods.comFacebook/kuunepageLine Id : OatEcho บริษัท ปกธนพัฒน์ จำกัด ได้รับเกียรติเชิญเป็นผู้ร่วมเสวนา นวัตกรรมขับเคลื่อนธุรกิจ สู่เส้นทางสายไหมใน AEC โดยคณาจารย์และบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เจรจาการค้าต่างประเทศ เข้าจังหวะช่วงเทศกาลต้อนรับตรุษจีน ความร่วมมือและความสำเร็จ ด้วยมิตรภาพและความจริงใจ #PTP on the moves … Kuu Ne wealth nutrition for lively health #คูเน่ #หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ72ปี #ผลงานวิจัย #ม.เกษตร #ได้รับรางวัลชนะเลิศ Kuu Ne #Onion #Seasoning #Powder #Low... อ่านเพิ่มเติมเมนูอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ
เมนูอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ถ้า ที่บ้านของคุณมีผู้สูงอายุร่วมชายคาเดียวกันอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่หรือปู่ย่าตายาย คุณก็คงจะตระหนักกันเป็นอย่างดีว่า พวกท่านจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายเยอะมาก ดังนั้น การดูแลเรื่องอาหารการกินจึงเป็นเรื่องสำคัญ เพื่อให้สุขภาพร่างกายของพวกท่านแข็งแรง จะได้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรให้กับลูกหลานไปนานๆ – อย่างแรกที่เห็นได้ชัดเจนคือความเสื่อมเรื่องสุขภาพฟันค่ะ ควรเลือกเมนูอาหารที่นิ่มและเคี้ยวง่ายๆ – ลดปริมาณเมนูอาหารที่ทำจากแป้งให้น้อยลง เนื่องจากร่างกายของผู้สูงอายุมีการใช้งานกล้ามเนื้อลดลงไปมาก อาหารพวกคาร์โบไฮเดรตส่วนเกินจะไปสะสมพอกพูน ทำให้น้ำหนักตัวเยอะ อาจส่งผลให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วขึ้นก็เป็นได้ค่ะ – อาหารประเภทโปรตีนก็ยิ่งจำเป็นต่อการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยสร้างเซลล์ใหม่ๆ ขึ้นมาทดแทน ซึ่งเนื้อสัตว์ที่เหมาะกับร่างกายผู้ใหญ่วัยนี้ควรจะเป็นเป็นเนื้อไก่ไม่ติด หนัง หรือเนื้อปลา เลี่ยงเนื้อหมูและเนื้อวัว เพราะทั้งย่อยยาก ทั้งไขมันเยอะ หรืออาจจะเลี่ยงเนื้อสัตว์มารับประทานพวกเต้าหู้ หรือถั่วชนิดต่างๆ โดยเฉพาะนมถั่วเหลือง ก็ดีต่อสุขภาพของผู้สูงอายุเช่นกันค่ะ – เพิ่มวิตามินที่จำเป็นต่อร่างกายด้วยการรับประทานข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอก ผักและผลไม้ให้เยอะๆ เพื่อเพิ่มวิตามิน แร่ธาตุ และกากใยอาหาร ลดปัญหาท้องผูก เพราะระบบย่อยอาหารทำงานได้ไม่เหมือนเดิมตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ต้องพยายามเลี่ยงการจัดเมนูอาหารที่มีไขมันสูงๆ ให้มากที่สุดนะคะ เพราะไขมันนำพามาแต่โรคร้ายๆ ไม่ว่าจะความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และที่อาจจะพ่วงตามมาอีกมากมายเลยล่ะค่ะ เมนูอาหาร เมนูอาหาร เมนูอาหาร ที่มา... อ่านเพิ่มเติมวิ่งเหยาะๆ ทำให้อายุยืนกว่าวิ่งเร็วๆ จริงหรือไม่? ควรวิ่งนานแค่ไหน? งานวิจัยในเดนมาร์กมีคำตอบ
นักวิจัยเดนมาร์กพยายามศึกษาหาคำตอบว่า การวิ่งที่เหมาะสมที่สุดนั้นควรช้าหรือเร็วแค่ไหน? นานเท่าไร? การ ออกกำลังกายด้วยการวิ่ง เป็นทางเลือกยอดนิยมที่สุดสำหรับคนที่ต้องการเผาผลาญแคลอรี่และมีร่างกาย แข็งแรง มีอายุยืนยาว แต่หลายคนอาจจะยังสงสัยว่าการวิ่งที่เหมาะสมที่สุดนั้น ควรช้าหรือเร็วแค่ไหน นานเท่าไร ซึ่งนักวิจัยเดนมาร์กพยายามศึกษาหาคำตอบเรื่องนี้ รายงาน ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Journal of the American College of Cardiology รวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างชายหญิงวัยผู้ใหญ่ 1,098 คน ซึ่งวิ่งเป็นประจำสม่ำเสมอ ภายใต้โครงการศึกษา Copenhagen City Heart Study โดยได้ศึกษาข้อมูลความถี่ในการวิ่ง ระยะทาง เวลาที่ใช้ และอัตราเร่ง ตั้งแต่ปี ค.ศ 2001 จากนั้นนำข้อมูลไปเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย 3,950 คน จาก การวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าคนที่วิ่งเป็นประจำแม้จะวิ่งเหยาะๆ จะมีอายุยืนยาวกว่าคนที่ไม่ได้วิ่งเลย แต่ที่น่าแปลกใจคือคนที่วิ่งเหยาะๆ กลับมีอายุยืนกว่าคนที่วิ่งเร็วด้วย โดยรายงานพบว่าคนที่วิ่งเร็วกับไม่ได้วิ่งเลยนั้น มีอายุเฉลี่ยพอๆ กัน รายงาน ชิ้นนี้ระบุว่า ระยะเวลาการวิ่งที่ทำให้อายุยืนยาวที่สุด คือการวิ่งเหยาะๆ ประมาณ 1 ชม. – 2 ชม.ครึ่ง ต่อสัปดาห์ แต่รายงานมิได้ระบุเจาะจงว่าการวิ่งช้าหรือเหยาะๆ นั้นคือกี่นาทีต่อกิโลเมตร เพียงแต่แบ่งเป็น 3 ระดับ คือวิ่งช้า วิ่งปกติ และวิ่งเร็ว แล้วให้กลุ่มตัวอย่างระบุเองว่าลักษณะการวิ่งของพวกเขาเป็นแบบไหน นัก วิจัย Jacob Louis Marott ผู้นำการวิจัยครั้งนี้บอกว่า การวิ่งด้วยอัตราที่เร็วเกินไปนั้นอาจไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควรในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับความยืนยาวของชีวิต ซึ่งอาจเป็นเพราะการออกกำลังกายอย่างหนักบ่อยๆอาจสร้างผลเสียต่อกล้ามเนื้อ หัวใจได้ อย่าง ไรก็ตามยังมีประเด็นโต้แย้งอยู่บ้าง หนึ่งคือจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ชอบวิ่งเร็วๆบ่อยๆในการทดลองครั้งนี้ยังน้อย เกินไป สองคือนักวิจัยเดนมาร์กมิได้ระบุถึงสาเหตุการเสียชีวิตของกลุ่มตัวอย่างนัก วิ่งเหล่านั้นไว้ชัดเจน รายงานจาก New York Times / เรียบเรียงโดยทรงพจน์... อ่านเพิ่มเติมไม่พบผลลัพธ์
ไม่พบหน้าที่คุณค้นหา ลองปรับการค้นหาหรือใช้แผงควบคุมด้านบนเพื่อค้นหาโพสต์